22 มกราคม 2552

ออกข้อสอบ 20 ข้อระบบเครือข่ายแบบไร้สาย

ออกข้อสอบ 20 ข้อ
เรื่อง ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย
1. ระบบเครือข่ายแบบไร้สายคือ
ก. Wireless LAN
ข. ISM
ค. Heinrich Hertz
ง. OFDM
2. ใครเป็นคนสรค้างทฤษฎี แม่เหล็กไฟฟ้า
ก. เฮน ริค เฮิรตซ์
ข. เจมส์ เคิร์ก แม็กแวลล์
ค. มาโคนี่
ง. มอส เคิร์ก
3. จงบอกคำย่อของ Industeial Sciences Medicine
ก. IMS
ข. SME
ค. MSI
ง. ISM
4. Direct IR และ Diffuse IR เป็นกลไกลการส่งแบบใด
ก. คลื่นอินฟราเรด
ข. คลื่นวิทยุ
ค. คลื่นไมโครเวฟ
ง. ถูกทุกข้อ
5. โครงสร้างของมาตรฐาน IEEE 802.11 ประกอบด้วย
ก. OFDM
ข. DSSS
ค. MAC และ PHY
ง. DSSS และ PHSS
6. ใน MAC Layer จะมีโปรโตคอลชื่อว่า
ก. CA/CSMA
ข. CSAM/CA
ค. AP
ง. CSMA/CA
7. Hot spot ทำหน้าที่เป็นอะไร
ก. กระจายสัญญาณคลื่นวิทยุ
ข. เป็นสะพานเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่าย
ค. ตรวจสอบการทำงาน
ง. ถูกทุกข้อ
8. รุปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สายมีกี่โหมด
ก. 2 โหมด
ข. 3 โหมด
ค. 4 โหมด
ง. 5 โหมด
9. Wireless LAN ถูกพัฒนาขึ้นใน ค.ศ. ใด
ก. 1980
ข. 1990
ค. 1982
ง. 1992
10. ค.ศ. ใดที่ส่งข้อมูลข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นผลสำเร็จครั้งแรก
ก. 1903
ข. 1905
ค. 1907
ง. 1999
11. คลื่นอินฟราเรดที่ใช้ในเครือข่ายไร้สายจะมีคลื่นกี่นาโนเมตร
ก. 650-700
ข. 850-900
ค. 750-800
ง. 950-1000
12. เทคโนโลยีที่ใช้ใน ULAN จากตอนแรกที่ใช้อินฟราเรดในการรับส่ง ตืมีข้อจำกัดในระยะทางส่งไม่ได้ไกล ต่อมาจึงได้ใช้คลื่นวิทยุในการส่ง มีเทคนิค 2 ชนิด คือ
ก. CSMA/CA และ DSSS
ข. FHSS และ SSID
ค. FHSS และ DSSS
ง. OFDM และ FHSS
13. การพัฒนาการของมาตรฐานเครือข่ายไร้สายมีจุดเริ่มต้นและใช้อย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี ค.ศ. ใด
ก. 19976
ข. 1997
ค. 1998
ง. 1999
14. การกระจายของคลื่นวิทยุมีกี่ขั้นตอน
ก 5
ข. 6
ค. 7
ง. 8
15. สมบัติของคลื่นมีกี่อย่าง
ก. 4
ข. 5
ค. 6
ง. 7
16. ข้อใดคือการแทรกสอด
ก. Refraction
ข. Ciffraction
ค. Inlerferece
ง. Perntration
17. ข้อใดคือการลดทอนของคลื่น
ก. Refraction
ข.Attenuation
ค. Inlerferece
ง. Perntration
18. หน่วยวัดอัตราการลดทอนหรืออัตราการขยายของกำลังส่งคืออะไร
ก. dB (Decibel)
ข. dBm (Decibel Milli)
ค. dBi (Decibel Isotropic)
ง. ไม่มีข้อทุก
19. มาตรฐาน IEEE ใดใช้กลไกลการเข้าถึงตัวกลางแบบ CSMA/CA พัฒนากลไกลการส่งแบบ OFDM
ก. IEEE 802.11a
ข. IEEE 802.11b
ค. IEEE 802.11g
ง.. IEEE 802.11c
20. ถ้าเราใช้เครือข่ายไร้สายที่มีความี่ 2.4 GHz จะมีอัตราขยายสูงสุดกี่ dBm
ก. 25 dBm
ข. 26 dBm
ค. 27 dBm
ง. 28 dBm

03 พฤศจิกายน 2551

ข้อสอบปลายภาค

ข้อสอบปลายภาค
ตอนที่ 1
1. พื้นที่สัญญาณครอบคลุมการทำงานเรียกว่าอะไร
ก. AP
ข. BSS
ค. ESS
ง. DCF
เฉลย ข. BSS

2. ข้อใดไม่ถูกต้องในการกล่าวถึง Rang ของความถี่
ก. 902 MHz-928 MHz
ข. 2.400 GHz-2.4835 GHz
ค. 5.725 GHz-5.855 GHz
ง. ข้อ ก. และ ข .

จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามจากข้อ 3- 8 เขียนคำตอบลงในช่อง ก.
A. Industry
B. Science
C. Medical
D. 900 MHz
E. 2.400 GHz
F. IEEE802.11a
G. IEEE802.11b
H. 54 Mbits
I. 2 Mbits
J. 11 Mbits
K. DSSS
L. FHSS
M. ISM

3. Data Rate สูงสุดที่สามารถส่งข้อมูลได้ใน wireless Lan ที่ใช้ Machanism แบบ OFDM
เฉลย F. IEEE802.11a


4. Radio Frequenตัวหนาcy ที่ใช้งานเยอะที่สุดใน IEEE802.11
เฉลย E. 2.400 GHz


5. IEEE802.11b ใช้ machanism แบบใด
เฉลย K. DSSS

6. Machanism แบบใดที่มี Data Rate 11 Mbits
เฉลย K. DSSS


7. ย่านความถี่ที่อนุญาตให้ใช้ได้ในงานอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์
เฉลย M. ISM

8. Radio frequency 2.400 GHz มีกี่ channel
ก. 54
ข. 69
ค. 79
ง. 89
เฉลย ค. 79

9. ในการ hop แต่ละ hop ใช้การ synchronize ต่างกันเท่าไหร่
ก. 0.4 ms per hop
ข. 0.45 ms per hop
ค. 0.2 ms per hop
ง. 0.25 ms per hop
เฉลย ก. 0.4 ms per hop

10. สถาปัตยกรรมของ wireless Lan ใน mode ใดที่ต้องเดินสาย wire network
ก. Ad-hoc
ข. Peer to Peer
ค. infrastructure
ง. BSS
เฉลย ค. infrastructure

11. Routing Protocol มีกี่แบบ อะไรบ้าง
ก. 2 แบบ Link state & Distance Vector
ข. 2 แบบ Link state & Dynamic
ค. 2 แบบ Dynamic & Static
ง. 2 แบบ BGP & OSPF
เฉลย ค. 2 แบบ Dynamic & Static

12. ข้อใดไม่ใช่ข้อพิจารณาลักษณะของ Routing ที่ดี

ก. Cost ต่ำ
ข. Delay ต่ำ
ค.Space ต่ำ
ง. Hop ต่ำ
เฉลย ค.Space ต่ำ

13. Protocol BGP พิจารณาการส่งข้อมูลจากอะไร

ก. จำนวนลิงค์
ข. ระยะทาง
ค. จำนวน router
ง. ราคาค่าเช่า
เฉลย ค. จำนวน router

14. ลักษณะสำคัญของ routing table ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. ต้นทาง
ข. ปลายทาง
ค. ต้นทาง ปลายทาง
ง. ต้นทาง โปรโตคอล ปลายทาง
เฉลย ง. ต้นทาง โปรโตคอล ปลายทาง

15. OSFP ( Open Shortest Path First) เป็นชื่อของ
ก. Algorithm
ข. Protocol
ค. Router
ง. Routing Table
เฉลย ข. Protocol

16. ชนิดของเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้รับ-ส่งข้อมูลในระยะทางไกลๆ
ก. Grade Index Multimode
ข. Step Index Multimode
ค. Single Mode
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ค. Single Mode

17. แกนกลางที่เป็นใยแก้วนำแสงเรียกว่าอะไร
ก. Jacket
ข. Core
ค. Cladding
ง. Fiber
เฉลย ข. Core

18. แสงที่เดินทางภายในเส้นใยแก้วนำแสงจะตกกระทบเป็นมุม คือ ลักษณะของเส้นใยแก้วแบบใด
ก. Grade Index Multimode
ข. Step Index Multimode
ค. Single Mode
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ข. Step Index Multimode

19. แสงที่เดินทางภายในเส้นใยแก้วนำแสงจะตกกระทบเป็นเส้นตรง คือ ลักษณะของเส้นใยแก้วแบบใด
ก. Grade Index Multimode
ข. Step Index Multimode
ค. Single Mode
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ค. Single Mode

20. ต้นกำหนดแสง ( optical source) ที่มี Powerของแสงเข้มข้น คือ
ก. Laser
ข. LED
ค. APD
ง. PIN-FET
เฉลย ก. Laser

21. ข้อใดคือ Fast Ethernet
ก. 10 base5
ข. 100 BasrFL
ค. 1000baseFX
ง. 10 GbaseTX
เฉลย ข. 100 BasrFL

22. 10BaseF ใช้สัญญาณอะไรในการส่งข้อมูล
ก. UTP
ข. STP
ค. Coaxial
ง. Fiber Optic
เฉลย ง. Fiber Optic

23. ข้อใดไม่ใช่ Ethernet แบบ 100 mbps
ก. 1000BaseT
ข. 100BaseTX
ค.1000BaseX
ง. 100BaseFL
เฉลย ข. 100BaseTX

24. ขนาด Frame ที่เล็กที่สุดของ Gigabit Ethernet คือ
ก. 53 byte
ข. 64 byte
ค. 128 byte
ง. 512 byte

เฉลย

25. Ethernet ใช้ protocol ใดในการตรวจสอบการส่งข้อมูล
ก. LLC
ข. CSMA/CA
ค. CSMA/CD
ง. ALOHA
เฉลย ค. CSMA/CD

26. Ethernet 10baseT ต่อยาวกี่เมตรสูงสุด
ก. 80 ม.
ข. 100 ม.
ค. 150 ม.
ง. 185 ม.
เฉลย ข. 100 ม.

27. ใครเป็นผู้กำหนดมาตรฐานของ Ethernet
ก. OIS
ข. IEEE
ค. ISO
ง. CCITT
เฉลย

28. 10Bases5 ใช้สาย Coaxial แบบใด
ก. Thin
ข. Thick
ค. UPT
ง. STP
เฉลย ข. Thick

29. Fast Ethernet มีความเร็วเท่าใด
ก. 10 mbps
ข. 100 mbps
ค. 1000 mbps
ง. 10 Gbps
เฉลย ข. 100 mbps

30. 100 Mbps, baseband, long wavelength over optical fiber cable คือ มาตรฐานของ
ก. 1000Base-LX
ข. 1000Base-FX
ค. 1000Base-T2
ง. 1000Base-T4

เฉลย ข. 1000Base-FX

31. ATM มีขนาดกี่ไบต์
ก. 48 ไบต์
ข. 53 ไบต์
ค. 64 ไบต์
ง. 128 ไบต์

เฉลย ข. 53 ไบต์

32. CSMA พัฒนามาจาก
ก. CSMA/CA
ข. CSMA/CD
ค. CSMA
ง. ALOHA
เฉลย ง. ALOHA

33. Internet เปิดขึ้นที่ประเทศอะไร
ก. AU
ข. JP
ค. USA
ง. TH
เฉลย ค. USA

34. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการขนถ่ายข้อมูล หรือ Transport Technology
ก. SDH
ข. ATM
ค. Mobile
ง. DWDM
เฉลย ก. SDH

35. ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก. CS internet
ข. Operator
ค. Admin
ง. ISP
เฉลย ง. ISP

36. การแจกจ่ายหมายเลขไอพีแอดเดรส ให้กับเครื่องลูกโดยอัตโนมัติเรียกว่าอะไร
ก. DNS
ข. FTP
ค. DHCP
ง. Proxxy
เฉลย ค. DHCP

37. การถ่ายโอนข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าอะไร
ก. DNS
ข. FTP
ค. DHCP
ง. Proxxy
เฉลย ข. FTP

38. โปรโตคอลการสื่อสารที่เป็น offline
ก. ICMP
ข. TCP
ค. UDP
ง. ARP
เฉลย ค. UDP

39. การหาเส้นทางการส่งข้อมูลเรียกว่า

ก. Routing
ข. Routing Protocol
ค. Routing Table
ง. Router
เฉลย ก. Routing

40. ข้อใดไม่มีในขั้นตอนการทำงาน server 7 พ.ค. 48

ก. DHCP
ข. DNS
ค. FTP
ง. Virtual host
เฉลย

41. หมายเลข IP Class ใดลองรับการทำงานของ host ได้สูงสุด
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
เฉลย ก. A


42. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างชนิดเข้าด้วยกันคือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router
เฉลย ง. Router

43. การ Set ค่าความสำคัญสูงสุด (High priority) ของ Packet เป็นหน้าที่ของ function ใดต่อไปนี้
ก. PIFS
ข. SIFS
ค. DIFS
ง. MIB
เฉลย ก. PIFS

44. การป้องกันการชนกันของการส่งข้อมูลใด WLAN ใช้หลักการใด
ก. ALOHA
ข. CSMA
ค. CSMA/CA
ง. CSMA/ CD
เฉลย ค. CSMA/CA

45. Data Rate สูงสุดขนาด 54 Mb ที่ส่งได้ใน WLAN ใช้มาตรฐานใดและใช้หลัก mechanism (กลไกการส่ง) แบบใด
ก. IEEE802.11a ; DSSS
ข. IEEE802.11b ; FHSS
ค. IEEE802.11a ; OFDM
ง. IEEE802.11b ; OFDM
เฉลย ค. IEEE802.11a ; OFDM

46. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณ D/A คือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router
เฉลย ค. Modem

47. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่บรอดแคสสัญญาณ (Broadcast) คือ
ก. Hub
ข. Switching
ค. Modem
ง. Router
เฉลย ก. Hub

48. Mechanism ใดของ WLAN ที่มีการรบกวน (Interference) สูงที่สุดใด
ก. Diffuse IR
ข. DSSS
ค. OFDM
ง. FHSS
เฉลย ง. FHSS

49. CIDR 192.168.0.0./24 จะมีค่า subnet mask เท่าใด
ก. 255.255.0.0
ข. 255.255.128.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.192
เฉลย ค. 255.255.255.0

50. การ Roaming ใช้กับการโอนถ่ายข้อมูลระหว่าง
ก. AP กับ AP
ข. AP กับ STA
ค. AS กับ BSS
ง. BSS กับ ESS
เฉลย ก. AP กับ AP

17 ตุลาคม 2551

Topology

เรื่อง STAR TOPOLOGY

คำถาม

1. Star Topology หมายถึงอะไร
ตอบ เป็นโครงสร้างที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง หรือ ฮับ (hub)
2. Star Topology ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
ตอบ ประกอบไปด้วย คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เรียกว่า โฮสต์ (Host) หรือ เซิฟเวอร์ (Server)ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่นแลอุปกรณ์ที่เหลือ
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์แบบ Star topology มีอะไรบ้าง จงยกตัวอย่าง

ตอบ 1. มีอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า hub หรือ Wiring concentrator
2. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย host หรือ server
3. เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย ตามต้องการ
4. สายสัญญาณ UTP
5. หัว RJ 45

4. ข้อดีของการใช้ Star Topology คืออะไร
ตอบ 1. การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำได้ง่าย
2. หากมีโหนดใดเกิดความเสียหายก็สามารถตรวจสอบได้ง่ายและเนื่องจาก
ใช้อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่งข้อมูล 1 เส้นทำให้การเสียหายของอุปกรณ์
ใดในระบบไม่กระทบต่อการทำงานของจุดอื่นๆ ในระบบ
3. ง่ายในการให้บริการเพราะโทโปโลยีแบบดาวมีศูนย์กลางทำหน้าที่ควบคุม
5. ข้อเสียของการใช้ Star Topology คืออะไร
ตอบ 1. ถ้าสถานีกลางเกิดเสียขึ้นมาจะทำให้ทั้งระบบทำงานไม่ได้
2. ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมากกว่าโทโปโลยีแบบบัส และ แบบวงแหวน

16 ตุลาคม 2551

"e-Learning ที่เกี่ยวข้อง"

"e-Learning ที่เกี่ยวข้อง" 10 url และที่มา

1. Url : http://lmsonline.nrru.ac.th/moodle/login/index.php ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา

2. Url : http://ora.chandra.ac.th/~jamornkul/index.php?Subj=P4122102 ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

3. Url : http://els.uru.ac.th/login/index.php ที่มาจาก : Uttaradit Rajabhat University

4. Url : http://computer.pcru.ac.th/emoodle/login/index.php ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์

5. Url : http://comed.pkru.ac.th:8080/ ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต

6. Url : http://science.yru.ac.th/elearning/login/index.php ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

7. Url : http://e-learning.tu.ac.th/ ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

8. Url : http://www.academic.hcu.ac.th/e-learning/e-learning.html ที่มาจาก : มหวิทยาลัยหัวเฉลียวเฉลิมพระเกียรติ

9. Url : http://e-learning.kku.ac.th/ ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยขอนแก่น

10. Url : http://elearning.utcc.ac.th/lms/main/default.asp ที่มาจาก : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

"คำอธิบายรายวิชา เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการกระจาย"

"คำอธิบายรายวิชา เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการกระจาย" รหัสวิชา 4122102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินอลขั้นของโปรโตคอลมาตราฐาน OSI
รูปแบบต่างๆของเตรื่อข่าย X.25Networkและดิจิตอล Network การประมวลผลแบบตาม ลำดับและแบบขนาน
การไปป์ไลน์(Pipelining) การประมวลผลแบบเวคเตอร์ ( vecter Processing )การประมวลผลแบบอะเรย์
( Array Processors ) มัลติโพรเซสเซอร์และฟอลท์โทเลอร์แรนซ์ ( Fault Tolerance )

09 กันยายน 2551

ออกแบบ optical fiber communication

ข้อ1.30 mbit ระยะทาง 45 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 30*45 =1,350
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -15เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimodeเพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -60เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po – Por
แทนค่า (-15) - (-60)= 65
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 6db
แทนค่า Lf = 65- (0.50 +1 +6
= 57.50
8.Dmax =
Lf/LfimaxLf = 57.50
Lfimax = 2
แทนค่า 57.50/2
= 28.75km


ข้อ2.50 mbit ระยะทาง 100 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 50*100 = 5,000
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -20เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimodeเพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -50
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po – Por
แทนค่า (-20) - (-50)
= 70
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 5db
แทนค่า Lf = 70- (0.50 +1 +5)= 31.75
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 63.50
Lfimax = 2
แทนค่า 63.50/2
= 31.57km

26 สิงหาคม 2551

เส้นใยแก้วนำแสง

เส้นใยแก้วนำแสง (fiber optic) คืออะไร
เส้นใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมากเส้น
ใยแก้วนำแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนำแสงที่ดีต้องสามารถนำ
สัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยมากเส้นใยแก้วนำแสงสามารถแบ่งตาม
ความสามารถในการนำแสงออกได้เป็น 2 ชนิด คือ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical
Fibers, SM) และชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM) ในปัจจุบันได้มีการ
พัฒนาเส้นใยแก้วนำแสง ที่ทำมาจากพลาสติกเพื่องานบางอย่างที่ไม่คำนึงถึงการสูญเสียสัญญาณมากนัก เช่น การสื่อสารใน
ระยะทางสั้น ๆ ไม่กี่เมตร
เส้นใยแก้วนำแสงประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน
คือ ส่วนที่เป็นตัวกลางนำแสงซึ่งทำจากวัสดุ เช่น แก้ว พลาสติก เรียกว่าแกน (core) กับส่วนที่เป็นที่ห่อหุ้มแกน
(cladding)โดยดัชนีหักเหของที่ห่อหุ้มแกนจะมีค่าน้อยกว่าดัชนีหักเหของแกนทั้งนี้ก็เพื่อกั้นไม่ให้แสงภายในเส้นใย
แก้วนำแสงทะลุออกมาภายนอกเส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นจะมีเพียงแกนกับที่ห่อหุ้มแกนเท่านั้น จึงทำให้เส้นใยแก้วนำแสง
ดังกล่าวมีขนาดเล็กมากแต่ในเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้งานทั่วไปนั้นถัดจากส่วนที่ห่อหุ้มแกนออกมา จะเป็นส่วนที่ห่อหุ้ม
สำหรับทำหน้าที่ป้องกันการฉีกขาดของเส้นใยแก้วนำแสง และเป็นส่วนที่รองรับแรงดึงแรงบิดที่กระทำต่อเส้นใยแก้วนำแสง
รวมทั้งป้องกันไม่ให้แสงหรือรังสีอินฟราเรดจากภายนอกเข้ามารบกวนสัญญาณภายในเส้นใยแก้วนำแสง ส่วนห่อหุ้มนี้มักจะ
ทำจากวัสดุเหนียวสีดำ สำหรับเส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นที่มีขนาดใหญ่มาก จะมีการใส่สายเคเบิ้ลโลหะด้วยเพื่อเพิ่มความแข็ง
แรงทนทานในอาคารบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย สำนักงานอาคารอุตสาหกรรมต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องใช้สายสัญญาณเพื่อเชื่อมโยง
ระบบสื่อสาร แต่เดิมสายสัญญาณที่นำมาใช้ ได้แก่ สายตัวนำทองแดง ปัจจุบันสายสัญญาณระบบสื่อสารมีความจำเป็นมากขึ้น
โดยเฉพาะ ระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีแนวโน้มที่จะรวมระบบสื่อสาร อย่างอื่นประกอบเข้ามาในระบบด้วย เช่น ระบบเคเบิลทีวี ระบบโทรศัพท์ ระบบการบริการข้อมูลข่าวสารเฉพาะของบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ ความจำเป็น
ลักษณะนี้ จึงมีผู้ตั้งคำถามว่า ถึงเวลา แล้วหรือยังที่จะให้อาคารที่สร้างใหม่ มีระบบเครือข่ายสายสัญญาณด้วยเส้นใยแก้วนำ
แสง หากพิจารณาให้ดีพบว่า เวลานั้นได้มาถึงแล้ว ปัจจุบันราคาของเส้นใยแก้วนำแสงที่เดินในอาคารมีราคาใกล้เคียงกับสาย
UTP แบบเกรดที่ดี เช่น CAT 5 ขณะเดียวกันสายเส้นใยแก้วนำแสง ให้ประสิทธิภาพที่สูงกว่ามาก และรองรับการใช้
งานในอนาคตได้มากกว่า สายยูทีพี (UTP) แบบ CAT 5 รองรับความเร็วสัญญาณ ได้ 100 เมกะบิตต่อวินาที และมี
ข้อจำกัดในเรื่องความยาวเพียง 100 เมตร ขณะที่สายใยแก้วนำแสงรองรับความถี่สัญญาณได้หลายร้อยเมกะเฮิรตซ์ และยัง
ใช้ได้กับ ความยาวถึง 2,000 เมตร การพัฒนาในเรื่องต่างๆของเส้นใยแก้วนำแสงได้ก้าวมาถึงจุดที่จะนำมาใช้กัน
อย่างกว้างขวางแล้ว บทความนี้จึงขอนำเสนอเพื่อแสดงให้เห็นว่า เส้นใยแก้วนำแสงมีจุดเด่นอย่างไร มีแนวโน้มการใช้งาน
ด้านใดบ้าง และที่สำคัญคือ จะได้เป็นข้อมูลสำหรับการศึกษา และทำความเข้าใจกับเส้นใยแก้วนำแสง เพื่อว่าจะได้เห็นข้อดีข้อ
เสียรวมถึงแนวทางการนำมา ประยุกต์ให้คุ้มค่า โดยเฉพาะการมองแนวทางของเทคโนโลยีในระยะไกล
จุดเด่นของสายใยแก้วนำแสง
จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงมีหลายประการ โดยเฉพาะจุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง จุดเด่นเหล่านี้ มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และดีขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย ความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เส้นใยแก้วนำแสงที่เป็นแท่งแก้ว ขนาดเล็ก มีการโค้งงอได้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้กันมากคือ 62.5/125 ไมโครเมตร เส้นใยแก้วนำแสงขนาดนี้ เป็นสายที่นำมาใช้ภายในอาคารทั่วไปเมื่อใช้กับคลื่นแสงความยาวคลื่น 850 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้มากกว่า 160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าใช้ความยาวคลื่น 1,300 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้กว่า 500 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าลดความยาวลงเหลือ 100 เมตร จะใช้กับความถี่ของสัญญาณมากกว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ได้ ดังนั้นจึงดีกว่าสายยูทีพีแบบแคต 5 ที่ใช้กับสัญญาณได้ 100 เมกะเฮิรตซ์
กำลังสูญเสียต่ำ
เส้นใยแก้วนำแสงมีคุณสมบัติในเชิงการให้แสงวิ่งผ่านได้ การบั่นทอนแสงมีค่าค่อนข้างต่ำ ตามมาตรฐานของเส้นใยแก้วนำแสง การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึง 2,000 เมตร หากระยะทางเกินกว่า 2,000 เมตร ต้องใช้ รีพีตเตอร์ทุกๆ 2,000 เมตร การสูญเสียในเรื่องสัญญาณจึงต่ำกว่าสายตัวนำทองแดงมาก ที่สายตัวนำทองแดงมีข้อกำหนดระยะทางเพียง 100 เมตร หากพิจารณาในแง่ความถี่ที่ใช้ ผลตอบสนองทางความถี่มีผลต่อกำลังสูญเสีย โดยเฉพาะในลวดตัวนำทองแดง เมื่อใช้เป็นสายสัญญาณ คุณสมบัติ ของสายตัวนำทองแดงจะเปลี่ยนแปลง เมื่อใช้ความถี่ต่างกัน โดยเฉพาะเมื่อใช้ความถี่ของสัญญาณที่ส่งในตัวนำทองแดง สูงขึ้น อัตราการสูญเสียก็จะมากตามแต่กรณีของเส้นใยแก้วนำแสง เราใช้สัญญาณความถี่มอดูเลตไปกับแสง การเปลี่ยน สัญญาณรับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกับกำลังสูญเสียทางแสง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้
ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาณ แบบทองแดง คือ การเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัญหานี้มีมาก ตั้งแต่เรื่องการรบกวนระหว่างตัวนำหรือเรียกว่า Crosstalk การไม่แมตซ์พอดีทางอิมพีแดนซ์ ทำให้มีคลื่นสะท้อนกลับ การรบกวนจากปัจจัย ภายนอกที่เรียกว่า EMI ปัญหาเหล่านี้สร้างให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแล แต่สำหรับเส้นใยแก้วนำแสง แล้ว ปัญหาเรื่องเหล่านี้จะไม่มี เพราะแสงเป็นพลังงานที่มีพลังงานเฉพาะ และไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การเดินทาง ในเส้นแก้วก็ปราศจากการรบกวนของแสงจากภายนอก
น้ำหนักเบา เส้นใยแก้วนำแสงมีน้ำหนักเบา
กว่าเส้นลวดตัวนำทองแดง น้ำหนัก ของเส้นใยแก้วนำแสงขนาด 2 แกนที่ใช้ทั่วไป มีน้ำหนักเพียงประมาณ 20 ถึง 50
เปอร์เซนต์ของสาย UTP แบบ CAT 5
ขนาดเล็กเส้นใยแก้วนำแสงมีขนาดทางภาคตัดขวางแล้ว เล็ก
กว่าลวดทองแดง มาก ขนาดของเส้นใยแก้วนำแสง เมื่อรวมวัสดุหุ้มแล้วมีขนาดเล็กกว่าสายยูทีพี โดยขนาดของสายใยแก้วนี้ใช้พื้นที่ประมาณ 15 เปอร์เซนต์ ของเส้นลวดยูทีพีแบบ CAT 5 มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่า การใช้เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะใช้ แสงเดินทางในข่าย จึงยากที่จะทำการแท๊ปหรือทำการดักฟังข้อมูล มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินการที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำกระแสไฟฟ้า การลัดลงจร การเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้าจึงไม่เกิดขึ้น
เส้นใยแก้วนำแสงมีราคาแพง
แนวโน้มทางด้านราคามีการเปลี่ยนแปลงราคาของเส้นใยแก้วนำแสงลดลง จนในขณะนี้ยังแพงกว่าสายยูททีพีอยู่บ้าง แต่ก็ไม่มากนักนอกจากนี้หลายคนยังเข้าใจว่า การติดตั้งเส้นใยแก้วนำแสงมีข้อยุ่งยาก และต้องใช้คนที่มีความรู้ความชำนาญ เสียค่าติตั้งแพง ความคิดนี้ก็คงไม่จริง เพราะการติดตั้งทำได้ไม่ยากนักเนื่องจากมีเครื่องมือพิเศษช่วยได้มาก เครื่องมือพิเศษนี้สามารถเข้าหัวสายได้โดยง่ายกว่าแต่เดิมมาก อีกทั้งราคาเครื่องมือก็ถูกลงจนมีผู้รับติดตั้งได้ทั่วไป
เส้นใยแก้วนำแสงยังไม่สามารถใช้กับเครื่องที่ตั้งโต๊ะได้
ปัจจุบันพีซีที่ใช้ส่วนใหญ่ต่อกับแลนแบบอีเธอร์เน็ต ซึ่งได้ความเร็ว 10 เมกะบิต การเชื่อมต่อกับแลนมีหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะปัจจุบันหากใช้ความเร็วเกินกว่า 100 เมกะบิต สายยูทีพีรองรับไม่ได้ เช่น เอทีเอ็ม 155 เมกะบิต แนวโน้มของการใช้งานระบบเครือข่ายมีทางที่ต้องใช้แถบกว้างสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะเมื่อต้องการให้พีซีเป็นมัลติมีเดียเพื่อแสดงผลเป็นภาพวิดีโอ การใช้เส้นใยแก้วนำแสงดูจะเป็นทางออก พัฒนการของการ์ดก็ได้พัฒนาไปมากเอทีเอ็มการ์ดใช้ความเร็ว 155 เมกะบิต ย่อมต้องใช้เส้นใยแก้วนำแสงรองรับ การใช้เส้นใยแก้นำแสงยังสามารถใช้ในการส่งรับวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ หรือสัญญาณประกอบอื่น ๆ ได้ดี